พิจารณามาตรฐาน/แนวปฏิบัติของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตามมาตรฐานสำคัญจำเป็นต่อความปลอดภัย 9 ข้อ ตามประกาศของสรพ.

ข้อ มาตรฐาน Owner มาตรฐาน/แนวปฏิบัติของโรงพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
1 ผ่าตัดผิดข้าง ผิดคน ผิดตำแหน่ง ผิดหัตถการ

คณะกรรมการห้องผ่าตัด

(ผศ.นพ.เศรษฐพงษ์  บุญศรี)

·        การบ่งชี้ผู้ป่วยก่อนผ่าตัด เพื่อป้องกันการผ่าตัดผิดข้างผิดคน
·        การบ่งชี้ตัวผู้ป่วยและตำแหน่งผ่าตัด เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัด
·        การบ่งชี้ผู้ป่วยก่อนให้การรักษาและทำหัตถการ
·        แนวทางการปฏิบัติ เรื่อง “การส่งผู้ป่วยเข้าห้องผ่าตัดโดยไม่ผ่านหอผู้ป่วย”หน่วยตรวจฉุกเฉิน งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน
2 การติดเชื้อสำคัญ (SSI, VAP,CAUTI, CLABSI)

*********************

คู่มือการป้องกันการติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการใส่อุปกรณ์

ICC (คุณอารีย์  กุณนะ) ·        การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะจากการสวนปัสสาวะโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
·        แนวปฏิบัติการ ดูดเสมหะ
·        แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิก : การปองกันปอดอักเสบจากการใชเครื่องชวยหายใจ
·        แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกสําหรับผูปวยที่มีภาวะ Sepsis และ Septic Shock
·        แนวปฏิบัติการพยาบาล การดูแลทารกและเด็กที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ หอผู้ป่วยหนักกุมาร
·        แนวปฏิบัติการพยาบาล การคาสายสวนปัสสาวะ
·        แนวปฏิบัติการสวนปัสสาวะ
·        แนวปฏิบัติการพยาบาล การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
·        แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเรื่อง “การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะแบบปิด”
·        CAUTI  Prevention 5 Days OFF
·        การเลือกใช้วัสดุปิดแผล(Dressing Selection)
3 บุคลากรติดเชื้อจากการปฏิบัติหน้าที่

HR & ICC & สร้างเสริม

(รศ.พญ.สุรินทร์พร ลิขิตเสถียร, คุณอารีย์  กุณนะ,คุณสิริบูรณ์  ยาวิชัย)

·        Flow การรายงานบุคลากรสัมผัสโรคติดเชื้อ/โรคติดต่อและโรคทางระบาดวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
·        กำลังดำเนินการจัดทํามาตรฐานเชิง โครงสร้าง  การจัดการ โรคติดเชื้อที่ป้องกันได้ ด้วยวัคซีน ในบุคลากร คณะแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
·        การคัดกรองภูมิคุ้มกันโรคติดเชื้อที่สำคัญก่อนการปฏิบัติงาน
4 การเกิด med error, advert drug event

กรรมการพัฒนาระบบยา

(ฝ่ายการพยาบาลและภก.ธนพงศ์ ชัยณกุล)

·        การรับคำสั่งและระบบการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากยา
·        ระบบการเฝ้าระวังการใช้ยาคู่ที่มีอันตรกิริยารุนแรง(อยู่ในระหว่างการ Revise)
·        ระบบการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาและการป้องกันการแพ้ยาซ้ำ (อยู่ในระหว่างการ Revise)
·        การให้ยาฉีดทางหลอดเลือดดำ
·        การให้ยาฉีดกล้ามเนื้อ ใต้ผิวหนัง และผิวหนัง
·        การให้ยารับประทานและใต้ลิ้น
·        การบริหารจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง(High Alert Drug) (อยู่ในระหว่างการ Revise)
·        แนวปฏิบัติ เรื่อง การบริหารยาเสพติดในหอผู้ป่วย ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
·        การบริหารจัดการยาเคมีบำบัด
·        การใช้ยาวาร์ฟาริน ( Warfarin) ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดลิ้นหัวใจ
·        การบริหารจัดการยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทในประเภท 2
·        แนวทางการปฏิบัติ เรื่อง “การให้ยาและผสมยา High Alert Drugs ที่มีใช้ในห้องฉุกเฉิน”
·        แนวทางปฏิบัติการพยาบาลเรื่อง “การหยอดยาตาและป้ายยาตา”ห้องตรวจตา (เบอร์ 7) งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน
5 การให้เลือดผิดคน ผิดหมู่ ผิดชนิด

กก.ให้เลือด & NSO

(คุณนิภาพรรณ , คุณวีรชาติ  ชูฤทธิ์)

·        การให้เลือด และส่วนประกอบของเลือด(อยู่ในระหว่างการ Revise)
·        แนวทางการปฏิบัติ เรื่อง “การให้เลือดอย่างเร่งด่วนโดยไม่ผ่านการตรวจจากธนาคารเลือด/การขอเลือดด่วน/การให้เลือดจำนวนมาก” (อยู่ในระหว่างการ Revise คาดว่าจะแล้วเสร็จ มิ.ย.2563 )
6 การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด

NSO

(คุณวีรชาติ  ชูฤทธิ์)

·        การบ่งชี้ผู้ป่วยก่อนให้การรักษาและทำหัตถการ
7 ความคลาดเคลื่อนในการวินิจฉัยโรค

ตัวแทนองค์กรแพทย์ & patho & รังสีวินิจฉัย

(ผศ.นพ.เศรษฐพงษ์  บุญศรี, อ.ดร.วิยะดา  แดนไกล, อ.นพ.วิทวัส วุฒิวงศ์ และ  CLT )

·        ระเบียบปฏิบัติเรื่อง การรายงานผลวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา
8 การรายงานผล lab / patho คลาดเคลื่อน

Patho, งาน Lab

(อ.ดร.วิยะดา  แดนไกล, คุณรุ่งนภา  ภีระคำ)

·        แนวทางปฏิบัติการเก็บและส่งสิ่งส่งตรวจไปห้องปฏิบัติการ
·        ระเบียบปฏิบัติเรื่อง การรายงานผลวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา
·        แนวปฏิบัติเรืองการเก็บสื่งส่งตรวจไปห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา
9 การคัดกรองที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อน ER Team ·        แนวทางการปฏิบัติ เรื่อง “การคัดกรองและคัดแยกผู้ป่วย”
หน่วยตรวจฉุกเฉิน งานการพยาบาลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยฉุกเฉิน
*********************************** *********************************************************************************************